Sunday 12 June 2011

เศรษฐกิจของกรีซ


วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔

วันนี้โจอ่านบทความเกี่ยวกับเศรฐกิจของกรีซ
นักเขียนบทความนี้ชี้ให้เห็นว่าสถานการณ์ทางงบประมาณภาครัฐของกรีซแยลงมากกว่าปีที่แล้ว

ในเดือนเมษายนปีที่แล้วรัฐบาลของกรีซได้ขอความช่วยเหลือจาก IMF กับ EU เพราะนักลงทุนมีความกลัวเกี่ยวกับปัญหางลประมาณของกรีซซึ่งทำให้อัตราดอกเบี่ยของพันธบัตรรัฐบาลสูงขึ้น ผลให้การยื่มเงินจากตลาดเงินทำได้ยากขึ้น



เมื่อIMF กับ EU ปล่อยเงินยืมเงินกู้ให้กรีซ IMF กับ EU จึงได้ให้รัฐบาลกรีซเปลี่ยนแลงนโยบายทางงบประมาณ เช่นปรับเพิ่มอัตราการจ่ายภาษีและลดการใช้จ่ายของรัฐบาลลง แต่นโยบายนี้ทำให้สถานการณ์ทางงบประมาณภาครัฐแยลงเพราะว่านโยบายนี้ทำให้เศรษฐกิจแยลงมากๆและรายได้จากการเก็บ รัฐบาลจึงดิดจะขายทรัพย์สินของรัฐเพื่อหาเงินมาชำระหนี้ 

บางคนบอกว่านโยบายใหม่นี้ก็ไม่สามารถทำให้รัฐบาลกรีซหาเงินมาได้เพียงพอต่อการชำระหนี้และจะต้องยอมรับการผิดนัดชำระหน้ในอนาคต
หลังจากโจอ่านบทความนี้โจรู้สึกลัวว่า รัฐบาลญี่ปุ่นจะรับปัญหาเดียวกันกับรัฐบาลในอนาคต
ตั้งแต่ ราวๆ ๑๕ ปีที่แล้วรัฐบาลญี่ปุ่นก็มีปัญหาเกี่ยวกับงบประมาณมากและทุกคนรู้ว่าเราจะต้องเปลี่ยนแปลงสถานการณ์นี้เร็ว 
แต่นักการเมืองยังไม่ได้แก้ปัญหาเลยเพราะว่านักการเมืองรู้ว่าถ้าเขาบอกว่าเขาอยากจะเพิ่มอัตราภาษีและลดการใช่จ่ายของรัฐบาลลง ประชาชนจะไม่เลือกเขา
โจรู้สึกว่าบางคนเห็นแก่ตัวเพราะพวกเขาบอกว่ารัฐบาลจะต้องประหยัด
แต่เขาไม่พอใจกับที่จะได้รับเงินจากรัฐบาลลดลง และไม่อยากจะจ่ายภาษีเพิ่มขึ้น
ถ้าพวกเขาไม่เปลี่ยนความคิดนี้ รัฐบาลญี่ปุ่นจะแก้ปัญหาไม่ได้
แต่ไม่รู้ว่าการเปลี่ยนนโยบายทางงบประมาณ์จะทำให้สถานการณ์แยลงย่างกรีซหรือเปล่า

<อ้างอิง >
Greece's debt crisis/Bail-out 2.0 (Jun 9th From The Economist)
It's all Greek to them (Jun 9th From The Economist)
Europe's debt crisis/World's worst menu (May 26th From The Economist)

Friday 10 June 2011

การดูหนัง เรื่อง“การคืนชีพ (Resurrection)”

วันที่ ๒ มิถนายน ๒๕๕๔

วันนี้โจดูหนัง เรื่อง“การคืนชีพ” 
 หนังเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับชีจิตของนักร้อง/แร็ปเปอร์ “ทูแพ็ก”
เดี๋ยวนี้เพื่อนของโจที่ชอบฮิปฮอปแนะนำให้โจรู้จักกับทูแพ็กและโจก็เริ่มรู้สึกสนใจชีวิตของเขา
ทูแพ็กเป็นคนมืดและเกิดในสลัมที่ประเทศอเมริกา เขารู้สึกไม่พอใจกับการเหยียดผิวและไม่พอใจที่คนมืดมีฐานะยากจนมาก หลังจากทูแพ็กเข้าโรงเรียนมัธยม เขาเริ่มร้องเพลงฮิปฮอปและเริ่มรู้สึกว่าอยากจะเปลี่ยนแปลงสังคมในอเมริกาด้วยการร้องเพลง เนื้อเพลงของเขาก็เลยมีเรื่องเกี่ยวกับปัญหาสังคมเช่น การเหยียดผิว ความยากจน และความเหลื่อมล้ำเป็นต้น เนื้อเพลงของเขามาจากความรู้สึกจริงๆและเพลงของเขาทำให้คนที่มีปัญหาอยู่รักเขามาก

จริงๆแล้วเขาก็มีข้อบกพร่องมากและก็มีคนเกลียดเขามาก บางทีกิริยาของเขาไม่ดีเลย เขาเคยถูกจับหลายครั้งและสุดท้ายเขาก็ถูกฆ่า (เขาเสียชีวิตเมื่ออายุ ๒๕ ปี)
แม้ว่าเขาจะเสียชีวิตไปแล้ว ๑๔ ปีก็ตาม แต่สำหรับคนที่ชอบฮิปฮอป ทูแพ็กก็ยังมีชื่อเสียงมาก ถึงแม้ว่าเขาจะเสียชีวิตไปแล้วแต่เนื้อเพลงของเขาก็ยังอยู่(ไม่รู้ว่าการที่ยังมีคนชอบเนื้อเพลงของเขาอยู่นั้นมีความหมายว่าสังคมยังไม่เปลี่ยนแปลงและยังมีปัญหามากอยู่หรือเปล่า)

หลังจากโจดูหนังเรื่องนี้โจรู้สึกแปลกใจเพราะว่านอกจากทูแพ็กแล้วยังมีนักร้องคนอื่นในอเมริกาที่ร้องเพลงเกี่ยวกับปัญหาสังคมเหมื่อนกัน แต่สำหรับญี่ปุ่นแล้วไม่ค่อยมี เพลงแบบนั้น เนื่อเพลงส่วนใหญ่จะเป็นเรื่องธรรมดาเช่นความรัก มิตรภาพและความสุขเป็นต้น 

 

แต่โจรู้สึกว่าสังคมญี่ปุ่นเองก็มีปัญหาและก็มีคนที่ไม่พอใจและอยากจะเปลี่ยนสังคมมากแต่ไม่รู้ว่าทำไมนักร้องญี่ปุ่นถึงไม่ค่อยร้องเพลงเกี่ยวกับปัญหาสังคมและก็ไม่รู้ว่าทำไมผู้ฟังถึงไม่ค่อยสนใจเนื้อเพลงแบบนี้

<อ้างอิง >Tupac/Resurrection, The rose that grew from the concrete

Sunday 5 June 2011

แม่ชีเทเรซา กับ เลดี้กาก้า

วันที่ ๓ มิถุนายน ๒๕๕๔

วันนี้โจอ่านบทความที่น่าสนใจ
บทความเรื่องนี้เกี่ยวกับ เลดี้กาก้า กับ แม่ชีเทเรซา
นักเขียนบทความนี้บอกว่า เลดี้กาก้าคล้ายกับแม่ชีเทเรซา
จริงๆแล้วมีความแต่กต่างอย่างมากระหว่าง ๒ คน เช่นเลดี้กาก้าชอบใส่เสื้อผ้าแปลกๆและเปลี่ยนเสื้อผ้ามากกว่า ๒๐ ครั้งในคอนเสิร์ต (ในทางกลับกัน แม่ชีเทเรซาใส่เสื้อผ้าชุดเดียวกันตลอด)
แต่นักเขียนบอกว่าทัง ๒ คนมีความคล้ายกันมากกว่าความแตกต่าง
เขาชี้ให้เห็นว่า ทั้ง ๒ คนมีความเป็นผู้นำและมีคนที่นับถือมาก
ทั้ง ๒ คนช่วยคนที่มีลำบาก :แม่ชีเทเรซาไปเยี่ยมคนป่วยและส่งเงินให้เขามาก  เลดี้กาก้าปกป้องสิทธิเกย์/เล็สเบียนและส่งเงินให้ประเทศที่มีปัญหา
ทั้ง ๒ คนทำงานหนักมากๆและเสียสละเพื่อคนอื่นอื่น:แม่ชีเทเรซาตื่นเวลา ตี ๔ ๔๐ ทุกวัน
เลดี้กาก้ามีวันหยุดแค่วันคริสต์มาสเท่านั้น ทั้ง ๒ คนติดต่อกับคนที่รักเขาเป็นประจำ แม่ชีเทเรซาเจอกับหลายๆคนทุกวัน เลดี้กาก้าติดต่อกับแฟนคลับโคยใช้เฟซบุ๊กกับทวิตเตอร์

นอกจากนี้นักเขียนบอกว่าทั้ง ๒ คนพูดเรื่องของพวกชิวิตเขาให้ทุกคนที่รักเขาผฟังด้วย
ก่อนอ่านบทความนี้โจไม่เคยคิดว่าเลดี้กาก้าคล้ายกับแม่ชีเทเรซา โจก็ชอบเลดี้กาก้าแต่ยังไม่เข้าใจว่าทำไม่นักเขียนคิดว่าลเดี้กาก้าคนเดียวคล้ายกับแม่ชีเทเรซาเพราะว่ามีนักร้องคนอื่นที่ทำงานหนักๆและช่วยคนที่ลำบากเช่นกัน



<อ้างอิง>
The angel and the monster (From The Economist Jun 2nd  2011 )