Saturday, 7 April 2012

กองทุนการเงินเอเซีย

วันนี้โจอ่านบทความเกี่ยวกับกองทุนการเงินเอเซีย(กองรทุนป้องกันการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจเอเซีย)เดี๋ยวนี้หลายคนพูดเรื่องเกี่ยวกับระบบ(วิธี)ป้องกันการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในยุโรป


แต่นักเขียนมุ่งเน้นระบบนี้ในเอเซียเพรา ๑๕ ปีที่แล้ว(ในวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเซีย) บางประเทศในเอเซียเคยเกิดสถานการณ์ที่คล้ายกับในยุโรป หลังจากวิกฤตในเอเซีย หลายประเทศ(ประเทศอาเซียนกับ ญี่ปุ่น เกาหลี และจีน) ตัดสินใจว่าควรจะมีระบบที่ช่วยเหลือประเทศที่มีปัญหา(จึงเกิดสัญญา“ความริเริ่มเชียงใหม่” )

 
จริงๆแล้วระบบนี้มาจากความไม่พอใจกับกองทุนการเงินระหว่างประเทศ เมื่อกองทุนการเงินระหว่างประทเทศช่วยเหลือประเทศในเอเชีย กองทุนการเงินระหว่างประเทศทำให้หลายประเทศลดค่าใช้จ่ายทางรัฐบาลลงมาก และปรับอัตราภาษีให้สูงมาก ประเทศในเอเซียก็เลยรู้สึกว่ากองทุนการเงินระหว่างประเทศเข้มงวดมากไป

ในปี ๒๕๔๓ สัญญาถูกนำมาใช้จริงในธนาคารกลางในเอเซีย ในปี ๒๕๕๓ ระบบนี้เปลี่ยนแปลงนิดหน่อยและเปิดสำนักงานวิจัยเศรษฐกิจอาเซียนเพื่อตรวจความเสี่ยงทางการเงินในเอเซีย
ในปี ๒๕๕๕ งบประมาณของระบบนี้เพิ่ม ขึ้น ๒ เท่าเพื่อเตรียมรับมือวิกฤติเศรษฐกิจในอนาคต แต่ระบบนี้ยังไม่เปลี่ยนเป็นกองทุนการเงินเอเซีย(ระบบนี้ คือสัญญราะหว่างธนาคารกลางในเอเซีย) เพราะกองทุนการเงินระหว่างประทเทศกับอเมริกาไม่ค่อยยอมรับการเปิดกองทุนการเงินเอเซีย


นักเขียนชี้ให้เห็นว่าตอนนี้งบประมาณของระบบนี้ยังมีขนาดไม่ใหญ่และถ้าเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ
การเงินประเทศเหล่านี้จะต้องขอความช่วยเหลือจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ แต่สถานการณ์อาจจะเปลี่ยนแปลงได้เพราะขั้วอำนาจทางการเงินก็มีการเปลี่ยนแปลงถึงในเอเซีย


แต่โจคิดว่าจะมีกองทุนการเงินเอเซียยากมาก เพราะถ้ากองทุนการเงินเอเซียเปิด กองทุนการเงินเอเซียจะต้องมีอำนาจที่สามารถเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งในประเทศที่ขอความช่วยเหลือได้ แต่คิดว่าหลายประเทศไม่อยากให้กองทุนการเงินเอเซียมีอำนาจมากไป(นอกจากนี้หลายสำนักงานในเอเชียยังไม่มีอำนาจเพียงพอเช่นอาเซียนไม่มีอำนาจที่แก้ไขปัญหาในอาเซียน)



ตั้งแต่เดือนนี้โจจะเริ่มเข้าร่วมการประชุมที่เรียนภาษาอังกฤษในบริษัทอีกครั้ง(ตั้งแต่โจเริ่มทำงานที่รัฐบาลในปีที่แล้ว ไม่ได้เรียนภาษาอังกฤเป็นประจำ) อยากจะอธิบายเรื่องที่โจเขียนในไดอารี่โดยใช้ภาษาอังกฤษด้วย(การอ่านบทความที่เป็นภาษาอังกฤษไม่ค่อยยากมาก แต่การอธิบายเป็นภาษาอังกฤษยากมากๆ)


<อ้างอิง>
A rather flimsy firewall (From The Economist Feb 7th 2012)

No comments:

Post a Comment