Saturday 26 October 2013

バーン・プ・ナム・ローン(バンプナムロン)のチェックポイントについて Check point of Ban Phu Nam Ron

*ข้อมูลสำหรับคนต่างชาติ
  以下は、2013年10月18日時点の情報です。
  Information as of October 18th 2013
-----------------------------------------------

各種報道で言われていますが、2013年8月末より4箇所でタイ・ミャンマーの陸路国境が解放されました。
As many newspapers say, four Thai-Myanmar borders opened in August.  

<参考/Reference>
Karen News (2013/8/29) Thai-Burma border open for business… and tourism)
http://karennews.org/2013/08/thai-burma-border-open-for-businessand-tourism.html/
Eleven (2013/8/25) Four Thai-Myanmar border crossing to be opened on August 28
http://elevenmyanmar.com/tourism/3182-four-thai-myanmar-border-crossings-to-be-opened-on-august-28

先週、Htee Khee(ミャンマー側)-Sunaron(タイ側)のポイント近辺に立ち寄りました。同ポイントはミャンマーのダウェイとタイをつなぐ道路上にあることもあり、中長期的に重要な役割を果たすと考えられますが、現状に関わる情報はほとんど出ていません。
Last week I dropped in at near the Htee Khee(Myanmar)-Sunaron(Thailand) point.
Although this point will be a very important point as the Dawei special economic zone develops, there is little information about the current situation.



記事ではタイ側のポイントが“Sunaron”と記載されていますが、同名称よりも“บ้านพุน้ำร้อน /Ban Phu Nam Ron/ バーン・プ・ナム・ローン(バンプナムロン)”が使われているようです。タイ外務省のホームページでも“Ban Phu Nam Ron ”が使われています。なお、日本語では“バンプナムロン”と表記されることが多いようですが、タイ語の表記からすると“バーン・プ・ナム・ローン”の方が正しいと思います。
Although many newspapers use “Sunaron”, it seems that this name is not a popular one. The name “บ้านพุน้ำร้อน /Ban Phu Nam Ron” is more famous one.

<参考/Reference>
Ministry of Foreign Affairs of The Kingdom of Thailand Press Release (2013/3/15) Myanmar opens a Temporary Border Trade Post at Htee Ki
http://www.mfa.go.th/main/en/media-center/14/35297-Myanmar-opens-a-Temporary-Border-Trade-Post-at-Hte.html


10/18日に実際に同ポイントに立ち寄ってみました。カンチャナブリ市内から車で30-40分程度かかりました。
I dropped in at this point on October 18th. It takes 30-40 minutes from central of Kanchanaburi city

より大きな地図で Kanchanaburi-Myanmar を表示


同ポイントは実際の国境の数キロ手前にあり、関税や検疫所が設けられていました。話を聞いたところ、ビザを持っていないとミャンマー及びポイントより先のタイ側地域にも入れないとのことで、これより先には進めませんでした(ちなみに、2013年8月にメーサイからタチレクにエントリーした際にはビザなしで入れました。)

This point is located several kilometers on the Thai side and facilities such as custom, medical inspection, are provided. The foreigner must get a visa in advance (FYI: When I could enter Myanmar from Mae-Sai without getting visa in advance.)
 
 


細々ですが、トラックがポイントを通過していました。また、下記(リンク先はタイ語)のようなタイ企業向けのダウェイ視察のツアーも組まれており、同ポイントを経由してミャンマーに入国するツアーバスも多くいました。
A few tracks pass the points, however the volume of traffic was very small. It seems that Thai travel companies arrange business trip tour of Dawei SEZ

<参考/Reference> 
 J.TRAVEL SERVICE
http://www.tourmuangkan.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=539371935 


今後数年間で状況がどのように変わるか楽しみです。
I’m looking forward to seeing the situation in the future.

การไปเที่ยวกาญจนบุรี



อาทิตย์ที่แล้วโจไปเที่ยวกาญจนบุรีมา ตอนแรกโจไปบ้านพุน้ำร้อนเพื่อเรียนรู้สถานการณ์การพัฒนาจุดผ่านชายแดนระหว่างไทยกับพม่า
บทความบอกว่าเดี๋ยวนี้ที่นี่มีจุดผ่านชายแดงเปิดใหม่และหลายคนคิดว่าในอนาคต จุดนี้จะเป็นจุดสำคัญเพราะถนนที่จะไปถึง เขตเศรษฐกิจพิเศษทวาย ก็ผ่านจุดนี้ นอกจากนี้แล้ว ดูเหมือนว่า มีแผนการที่จะสร้างเขตอุตสาหกรรมที่ใกล้ๆจุดผ่านชายแดนด้วย แต่ไม่ค่อยมีข้อมูลเกี่ยวกับสถานการณ์ของตอนนี้   โจก็เลยอยากไปเรียนรู้เอง ครั้งนี้โจไม่ได้เข้าประเทศพม่าเพราะระบบการเข้าประเทศไม่เหมือนกันกับที่แม่สายและคนต่างชาติ(ยกเว้นคนไทย?)จะต้องรับวีซ่าก่อน  แต่ดีใจที่ได้เรียนรู้หลายสิ่ง (ดูเหมือนว่าบริษัทอิตาเลียนไทยมีทัวร์ที่พาไปเรียนรู้เกี่ยวกับทวาย) คราวหน้าอยากจะเข้าประเทศพม่า
หลังจากไปที่นั่น โจไปเที่ยวหลายที่เช่น น้ำตกเอราวัณ เขื่อนศรีนครินทร์ และ สะพานข้ามแม่น้ำแคว เป็นต้น ที่ไหนก็วิวกับบรรยากาศดี(อากาศไม่ร้อนเลย)

ครั้งนี้ไม่ค่อยมีเวลาไปเที่ยวที่กรุงเทพฯ แต่สามารถไปทานอาหารที่ร้านของเพื่อนได้ (แต่ไม่สามารถไปบ่อน้ำร้อนแบบญี่ปุ่นที่อยู่ใกล้ร้านของเขาได้) ดีใจที่ได้รู้ว่าเขาก็สบายดี

Sunday 13 October 2013

โลกาภิวัตน์



วันนี้โจอ่านบทความเกี่ยวกับโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ บทความนี้บอกว่าเดี๋ยวนี้นโยบายที่ต่อด้านโลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอยู่ จริงๆแล้ว WTO (องค์การการค้าโลก) จำกัดนโยบายที่ป้องกันเหล่านี้ นอกจากนี้แล้วหลายประเทศกำลังเจรจาตกลงเกี่ยวกับเขตการค้าเสรีเช่น TPP (ความตกลงในเศรษฐกิจภาคพิ้นแปซิฟิก) และ RCEP(ความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค) เพื่อพัฒนาโลกาภิวัตน์ 
แต่นักเขียนชี้ให้เห็นว่า หลายรัฐบาลแอบต่อด้านโลกาภิวัตน์โดยใช้หลายนโยบาย เช่น รัฐบาลให้เงินอุดหนุนให้บริษัทในประเทศ  บริษัทต่างชาติต้องซื้อสินค้าขั้นกลางที่ผลิตในประเทศ เป็นต้น บทความนี้บอกว่าตั้งแต่ ๕ ปีที่แล้วถึงตอนนี้มีข้อจำกัดเกิดขึ้น มากกว่า ๔๐๐ ข้อ  สำหรับการพัฒนาของโลกาภิวัตน์ รัฐบาลอเมริกายังมีความสำคัญมากต่อ แต่การประชุมเกี่ยวกับ TPP ครั้งนี้  ปัญหาทางการเมืองทำให้ประธานาธิบดี โอบามา ไม่สามารถเข้าร่วมได้ นักเขียนบอกว่าประธานาธิบดี โอบามาจะต้องแก้ปัญหาโดยเร็วและกลับมาเข้าร่วมการประชุมครั้งหน้า
หลังจากโจอ่านบทความนี้ รู้สึกแปลกใจนิดหน่อย เพราะ จริงๆแล้วหลายประเทศกำหนดโยบายเล็กๆที่จำกัดการค้ากับการลงทุนจากต่างประเทศ แต่หลายประเทศกำหนดนโยบายแบบนี้เพราะรัฐบาลคิดว่ามีความเป็นไปได้ที่การเปิดเสรีเร็วมากไปอาจจะเกิดผลเสียต่อเศรษฐกิจในระยะสั้น (เพราะการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างอุตสาหกรรม การเพิ่มความสามารถของแรงงานก็ใช้เวลานาน โลกาภิวัตน์อาจจะทำให้เกิดผลดีในระยะยาว แต่มีความเป็นไปได้ที่จะเกิดผลเสียในระยะสั้น ดูเหมือนว่านักเขียนบอกแค่ผลดีเท่านั้น และโจรู้สึกว่าความคิดของเขาไม่ยุติธรรม) โจเคยคิดว่าหลายรัฐบาลลดข้อจำกัดเพื่อพัฒนาโลกาภิวัตน์ แต่สร้างข้อจำกัดใหม่เพื่อป้องกันผลเสียต่อเศรษฐกิจในระยะสั้น  ถ้าดูภาพรวม โจคิดว่าโลกาภิวัตน์ยังคงมีการพัฒนาอยู่ 

<อ้างอิง>   
The world economy / The gated globe (From The Economist Oct 2nd 2013)

การไปทำงานที่จังหวัด ฟุกุอิ



วันพุธที่ผ่านมา โจไปทำงานที่จังหวัดฟุกุอิมา (ครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่ไปทำงานต่างจังหวัด โจไปเสนอเกี่ยวกับเศรษฐกิจเอเชียที่การประชุมของหอการค้าฟุกุอิ) โจไปที่นั่นโดยใช้ชิงกันเซ็งและการไปกลับใช้เวลาราวๆ ๘ ชั่วโมง ทำงานแค่ ๒-๓ ชั่วโมง แต่นั่งชิงกันเซ็งนานๆทำให้โจรู้สึกเหนื่อยมาก ระหว่างอยู่ในชิงกันเซ็งโจดูวิวนานๆและรู้สึกสงสัยว่าอัตราส่วนของการเกษตรใน GDP จริงๆมีแค่ ๑เปอร์เซ็นต์  เท่านั้นหรือไม่ เพราะหลายที่ไม่มีอะไรยกเว้นนาข้าว ถ้าอัตรานั้นถูกจริงๆ เรื่องนี้แสดงว่าประสิทธิภาพของที่ดินแย่มากๆ

ครั้งนี้ไม่มีเวลาว่างที่เดินเล่นในมืองฟุกุอิ (มีเวลาที่ไปซื้อของฝากที่สถานีเท่านั่น) โจรู้สึกตกใจที่เห็น ฮะจิบังราเมน เพราะร้านอาหารนี้เป็นร้านอาหารของต่างจังหวัดและไม่มีสาขาที่โตเกียว เคยเห็นร้านที่ที่กรุงเทพฯเท่านั้นที่ญี่ปุ่นทำให้โจรู้สึกแปลกใจนิดหน่อย ไม่แน่ใจว่าจะมีโอกาสไปฟุกุอิคราวหน้าเมื่อไร แต่ถ้ามีโอกาส อยากจะไปทานปู (อาหารทะเล โดยเฉพาะปูมีชื่อเสียง)